messager
place สถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยว
info_outline วิสัยทัศน์
เป้าประสงค์เพื่อการพัฒนา1. เพื่อให้ประชาชนมีน้ำใช้ในการเกษตร และอุปโภค บริโภค อย่างพอเพียง 2. เพื่อให้เกษตรกรได้พัฒนาความรู้ ลดการใช้สารเคมีในการทำการเกษตร และมีรายได้เพิ่มขึ้น 3. เพื่อให้ประชาชนมีการศึกษาที่ดีขึ้น ทั่วถึงทุกระดับ 4. เพื่อพัฒนา ฟื้นฟู แหล่งโบราณคดี ประเพณี วัฒนธรรมพื้นบ้าน และภูมิปัญญาท้องถิ่นให้คงอยู่สืบต่อไปชั่วลูกชั่วหลาน 5. เพื่อให้ประชาชน เด็ก คนชรา ผู้พิการ และผู้ยากไร้ ได้รับการส่งเสริมด้านสุขภาพ สวัสดิการสังคม และการสังคมสงเคราะห์อย่างทั่วถึง 6. เพื่อพัฒนาท้องถิ่นในด้านโครงสร้างพื้นฐานและด้านอื่น ๆ ให้เพียงพอกับความต้องการ
พันธกิจการพัฒนาท้องถิ่น (Mission)1. จัดให้มีและบำรุงรักษาแหล่งน้ำ 2. ส่งเสริมและให้ความรู้ด้านการเกษตร และการพัฒนาอาชีพให้ชุมชน 3. ส่งเสริมการศึกษาในชุมชน ให้ทั่วถึงทุกระดับ 4. ส่งเสริม พัฒนา ฟื้นฟู แหล่งโบราณคดี ประเพณี วัฒนธรรมพื้นบ้าน และภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชน 5. ส่งเสริมสุขภาพ สวัสดิการสังคม และสังคมสงเคราะห์ ให้กับเด็ก คนชรา ผู้พิการ และผู้ยากไร้ ในหมู่บ้านให้ทั่วถึงทุกครัวเรือน 6. ปรับปรุงและพัฒนาเส้นทางคมนาคม ระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ ให้ได้มาตรฐาน เพียงพอความต้องการของประชาชน
วิสัยทัศน์การพัฒนา อบต.หลุมข้าว (Vision)“สืบสานวัฒนธรรมพื้นบ้าน ระบบบริการสาธารณะขั้นพื้นฐานครอบคลุม ประชาชนมีคุณภาพชีวิตดี มีการศึกษา ทุกภาคีมีส่วนร่วม รักษาสิ่งแวดล้อม พร้อมชุมชนน่าอยู่”
วิสัยทัศน์หน่วยงาน

วิสัยทัศน์การพัฒนา

วิสัยทัศน์การพัฒนา อบต.หลุมข้าว (Vision)
“สืบสานวัฒนธรรมพื้นบ้าน ระบบบริการสาธารณะขั้นพื้นฐานครอบคลุม ประชาชนมีคุณภาพชีวิตดี มีการศึกษา ทุกภาคีมีส่วนร่วม รักษาสิ่งแวดล้อม พร้อมชุมชนน่าอยู่”  
 
พันธกิจการพัฒนาท้องถิ่น (Mission) 
1. จัดให้มีและบำรุงรักษาแหล่งน้ำ
2. ส่งเสริมและให้ความรู้ด้านการเกษตร และการพัฒนาอาชีพให้ชุมชน
3. ส่งเสริมการศึกษาในชุมชน ให้ทั่วถึงทุกระดับ 
4. ส่งเสริม พัฒนา ฟื้นฟู แหล่งโบราณคดี ประเพณี วัฒนธรรมพื้นบ้าน และภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชน
5. ส่งเสริมสุขภาพ สวัสดิการสังคม และสังคมสงเคราะห์ ให้กับเด็ก คนชรา ผู้พิการ และผู้ยากไร้ ในหมู่บ้านให้ทั่วถึงทุกครัวเรือน
6. ปรับปรุงและพัฒนาเส้นทางคมนาคม ระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ ให้ได้มาตรฐาน เพียงพอความต้องการของประชาชน
 
เป้าประสงค์เพื่อการพัฒนา
1. เพื่อให้ประชาชนมีน้ำใช้ในการเกษตร และอุปโภค บริโภค อย่างพอเพียง
2. เพื่อให้เกษตรกรได้พัฒนาความรู้ ลดการใช้สารเคมีในการทำการเกษตร และมีรายได้เพิ่มขึ้น
3. เพื่อให้ประชาชนมีการศึกษาที่ดีขึ้น ทั่วถึงทุกระดับ
4. เพื่อพัฒนา ฟื้นฟู แหล่งโบราณคดี ประเพณี วัฒนธรรมพื้นบ้าน และภูมิปัญญาท้องถิ่นให้คงอยู่สืบต่อไปชั่วลูกชั่วหลาน
5. เพื่อให้ประชาชน เด็ก คนชรา ผู้พิการ และผู้ยากไร้ ได้รับการส่งเสริมด้านสุขภาพ สวัสดิการสังคม และการสังคมสงเคราะห์อย่างทั่วถึง
6. เพื่อพัฒนาท้องถิ่นในด้านโครงสร้างพื้นฐานและด้านอื่น ๆ ให้เพียงพอกับความต้องการ
 
นโยบายการพัฒนาของผู้บริหารท้องถิ่น
 
1. นโยบายด้านการเมืองและการบริหาร
การพัฒนาการเมืองและการบริหาร เพื่อให้บรรลุตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ที่ได้ให้ความสำคัญกับการกระจายอำนาจการปกครองสู่ท้องถิ่น ให้ความเป็นอิสระแก่ท้องถิ่น ในการกำหนดนโยบาย การบริหาร การเงิน การคลัง การบริหารงานบุคคล ดังนั้น จึงมีความจำเป็นที่จะต้องเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติตามภารกิจที่เพิ่มขึ้นขององค์การบริหารส่วนตำบล ตลอดจนการเสริมสร้างจิตสำนึกของพนักงาน เจ้าหน้าที่ และลูกจ้างในการบริการประชาชน   ให้ได้รับความสะดวก รวดเร็ว และเกิดความพึงพอใจ ดังนี้
1. พัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลหลุมข้าวให้เป็นองค์กรธรรมาภิบาลที่มีหลักการบริหารจัดการตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดีและเป็นหน่วยบริการสังคมที่ดีมีมาตรฐานด้วยการส่งเสริมสร้างความร่วมมือประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง สร้างกระบวนการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาศักยภาพและยกระดับแก่สมาชิกสภาท้องถิ่น ข้าราชการ พนักงานและลูกจ้าง ซึ่งเป็นทรัพยากรบุคคลอันสำคัญของตำบลหลุมข้าว พร้อมทั้งสร้างเสริมกระบวนการพัฒนาระบบการบริการสาธารณะที่ดี มีมาตรฐาน สร้างความสะดวก ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน สร้างบุคลากรให้มีคุณภาพ และมีจิตสำนึกในการให้บริการ เพื่อรองรับการบริการแต่ละด้านให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน
2.  ส่งเสริมสนับสนุนการขับเคลื่อนองค์กรชุมชน และคณะกรรมการชุมชนดำเนินกิจกรรม โครงการต่าง ๆ โดยชุมชนและเพื่อชุมชน รวมทั้งสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนเพื่อพัฒนายกระดับการขับเคลื่อนไปสู่ทิศทางของเมืองน่าอยู่ ชุมชนน่าอยู่อย่างยั่งยืน
3. ส่งเสริมสนับสนุนการประสานงานเพื่อก่อให้เกิดการสร้างเครือข่ายการทำงาน ทั้งภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ และพื้นที่อื่น ๆ ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง รวมถึงภาคเอกชน องค์กรพัฒนาเอกชน
4. เพิ่มประสิทธิภาพในการจัดเก็บและพัฒนารายได้ ให้ความทั่วถึงเป็นธรรม รับฟังความคิดเห็นจากประชาชนตามครรลองระบอกประชาธิปไตย ตั้งแต่เริ่มกระบวนการ ร่วมคิดร่วมตรวจสอบ โปร่งใสและปฏิบัติงานอย่างมีระบบ
 
2. นโยบายด้านการพัฒนาสังคม
        พัฒนาศักยภาพของประชาชนในตำบล ทั้งในด้านการศึกษา สาธารณสุข และการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน เพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ดังนี้
1. รณรงค์ส่งเสริมกระบวนการสร้างเสริมคุณธรรม จริยธรรมการสร้างวินัย และจิตสาธารณะของคนในชุมชน
2. ส่งเสริม สนับสนุน อำนวยความสะดวกแก่การดำเนินงานด้านสวัสดิการสงเคราะห์เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี สามารถพึ่งตนเองได้ รวมทั้งได้รับการช่วยเหลือและได้รับการบริการอย่างทั่วถึง และเป็นธรรม
3. ส่งเสริมและสนับสนุนด้านการกีฬา และลานกีฬาหมู่บ้าน เพื่อสุขภาพอนามัยที่ดีของประชาชน ให้เด็กและเยาวชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ สนับสนุนให้มีการแข่งขันกีฬา เพื่อก่อให้เกิดความรัก ความสามัคคีและปลูกฝังค่านิยมที่ดีต่อการกีฬา
4. ป้องกัน ปราบปราม และแก้ไขปัญหายาเสพติดให้หมดไปจากพื้นที่ ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานของรัฐ เอกชนที่เกี่ยวข้อง ร่วมกันป้องกัน และแก้ปัญหาอย่างใกล้ชิด เสริมสร้างความเข้มแข็ง ความเข้าใจที่ถูกต้องให้แก่สถาบันครอบครัว
5. ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาสังคม ที่สอดคล้องกับทิศทางของการสร้างสุขภาวะแบบองค์รวม และการสร้างสังคมที่อยู่ดีมีสุข มีความเป็นชุมชนน่าอยู่ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นทุกเวลา
 
3. นโยบายการพัฒนาการศึกษา ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม
การส่งเสริมและสนับสนุนด้านการปฏิรูปการศึกษาเจตนารมณ์แห่งรัฐธรรมนูญ และพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งความรู้ อันเป็นเงื่อนไขไปสู่ระบบเศรษฐกิจฐานความรู้ ให้ประชาชนทั้งปวงได้รับโอกาสเท่าเทียมกันที่จะเรียนรู้และฝึกอบรมได้ตลอดชีวิต และมีปัญญาเป็นทุนไว้สร้างงานและสร้างรายได้ และนำพาท้องถิ่นให้รอดพ้นจากวิกฤตเศรษฐกิจและสังคม โดยยึดหลักการศึกษาสร้างชาติ สร้างคน และสร้างงาน ตลอดจนการส่งเสริม สนับสนุน ด้านการศึกษา ศิลปวัฒนธรรมให้เกิดความรู้คู่คุณธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะ และวัฒนธรรมของท้องถิ่น ดังนี้
1. สนับสนุนและส่งเสริมพัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนวัยเรียนให้ได้ตามมาตรฐาน เน้นคุณภาพ ประสิทธิภาพและความเที่ยงธรรมในการบริหารจัดการศึกษาทุกประเภท 
2. ส่งเสริมและสนับสนุนด้านการศึกษาที่ทันสมัย ทันโลกทันเหตุการณ์
3. สนับสนุน ส่งเสริม รักษาขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่น พัฒนาแหล่งวัฒนธรรม ศิลปวัตถุ และโบราณสถาน ให้เป็นแหล่งเรียนรู้และแหล่งรายได้ของประชาชนในพื้นที่
 
4. นโยบายพัฒนาสาธารณสุขและส่งเสริมคุณภาพชีวิต
การสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านสุขภาพ ตามแนวทางของกฎหมายสุขภาพแห่งชาติ ช่วยรณรงค์ให้เกิดการพัฒนา และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางด้านสุขภาพอนามัย เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและลดปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อสุขภาพ ดังนี้
1. เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยสมบูรณ์ แข็งแรง และมีสุขภาพจิตที่ดี การดูแลรักษาสุขภาพอนามัยของประชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาชน
2. ส่งเสริมการดำเนินกิจกรรมด้านการเสริมสร้างสุขภาพของประชาชน และการบริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน ผู้รับบริการสามารถเข้าถึงได้อย่างสะดวก รวดเร็ว เป็นธรรม
3. สนับสนุนการควบคุมป้องกันการระบาดของโรคติดต่อ และโรคไม่ติดต่อที่อันตรายต่อคน และสัตว์ โดยการสร้างขีดความสามารถในการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมและดูแลรักษาอย่างเป็นระบบ เชื่อมโยงกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
4. ส่งเสริม สนับสนุนงานสุขภาพอนามัย และการจัดการสุขภาวะภาคประชาชน โดยผ่านกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)
5. ส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมที่สอดคล้องกับการคุ้มครองผู้บริโภค
 
5. นโยบายพัฒนาทางเศรษฐกิจ
ในสภาวการณ์ปัจจุบัน ซึ่งเกิดความถดถอยทางเศรษฐกิจ การส่งเสริมการพัฒนา ทางเศรษฐกิจภายในท้องถิ่นเป็นการสนับสนุน และเพิ่มศักยภาพของกลุ่มให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน ดังนี้
1. สนับสนุน ส่งเสริมกลุ่มอาชีพให้เติบโตและเข้มแข็ง เพื่อพัฒนาศักยภาพของกลุ่มให้มีความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน พัฒนาอาชีพที่เหมาะสมกับสภาวะแวดล้อมของท้องถิ่น และกระตุ้นให้เกิดการพัฒนา กระบวนการสร้างระบบเศรษฐกิจชุมชน ขยายเครือข่าย โดยจัดหาแหล่งรองรับสินค้า หรือตลาดส่งออกสินค้าของกลุ่มอาชีพ
2. สนับสนุน ส่งเสริมด้านการเกษตร กระบวนการเรียนรู้ภาคการเกษตร อุตสาหกรรม การเกษตร ควบคู่กับการรักษาสิ่งแวดล้อมโดยการใช้เกษตรอินทรีย์
3. สร้างรายได้และลดรายจ่ายในครัวเรือน ส่งเสริม สนับสนุน ขยายเครือข่าย เพิ่มศักยภาพผู้ประกอบการในพื้นที่
4. ส่งเสริมกิจกรรมที่สอดคล้องตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
 
6. นโยบายด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
พัฒนาโครงสร้าง และสภาพแวดล้อมของตำบล เพื่อส่งเสริมศักยภาพเศรษฐกิจและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน และเป็นการวางรากฐานการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยมุ่งเน้นการเป็นศูนย์กลางในการให้บริการ ดังนี้
1. พัฒนาระบบการก่อสร้าง ปรับปรุง บำรุงรักษาสาธารณูปโภคต่าง ๆการขยายเขตไฟฟ้าและติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะ ให้ทั่วถึงทุกพื้นที่ ประชาชนมีไฟฟ้าในครัวเรือนใช้ตามความเหมาะสม
2. เสริมสร้างมาตรการในการป้องกัน และแก้ไขปัญหาน้ำท่วมขังในชุมชนให้มี และบำรุงทางระบายน้ำ โดยการก่อสร้างและปรับปรุงท่อระบายน้ำ รางระบายน้ำ รวมถึงระบบระบายน้ำเพื่อแก้ไขปัญหาน้ำท่วมขังอย่างเป็นระบบ
3. ส่งเสริมการพัฒนาแหล่งน้ำสำหรับประชาชนได้อุปโภค บริโภค โดยการพัฒนาแหล่งน้ำที่มีอยู่เดิมให้สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างคุ้มค่า และจัดหาแหล่งน้ำใหม่ตามความเหมาะสม
 
7. นโยบายด้านการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้เป็นปัจจัยเกื้อหนุนในการดำรงชีวิตเพื่อเอื้ออำนวยต่อความสมดุลของระบบนิเวศวิทยา เพื่อยกระดับคุณภาพ และสนับสนุนการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และเพื่อเป็นการพัฒนาอย่างยั่งยืน ดังนี้
1. รณรงค์ ส่งเสริมการสร้างจิตสำนึกสาธารณะ ทางด้านการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมแก่ประชาชน และชุมชน
2. สนับสนุน ส่งเสริมให้ชุมชนมุ่งรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของชุมชน และสถานที่ต่าง ๆ ในตำบลให้เป็นเมืองน่าอยู่
3. ส่งเสริมสนับสนุนการเฝ้าระวัง และการมีส่วนร่วมของชุมชนในการควบคุม และกำจัดมลภาวะที่มีผลต่อสุขภาพอนามัย และคุณภาพชีวิตของประชาชน
4. ส่งเสริมสนับสนุนกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ขับเคลื่อนการจัดทำโครงการ และการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ที่มุ่งไปสู่การลดสภาวะโลกร้อน
แนวทางการจัดทำนโยบาย
  นโยบายนี้จัดทำขึ้นโดยอาศัยข้อมูลพื้นฐานของตำบลหลุมข้าว นโยบายรัฐบาล แผนยุทธศาสตร์จังหวัดลพบุรี แผนยุทธศาสตร์องค์การบริหารส่วนตำบลหลุมข้าว แผนชุมชน วิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนตำบลหลุมข้าว ความต้องการของประชาชนตำบลหลุมข้าว
แนวทางการบริหารจัดการเพื่อให้การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ นำแนวทางบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดีมาเป็นแนวทาง ดังนี้
(1) หลักนิติธรรม จะบริหารจัดการโดยยึดหลักตามกฎหมายบ้านเมือง ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ ที่ทางราชการ ได้ประกาศใช้เพื่อไม่ให้เกิดความผิดพลาดเสียหายกับทางราชการ
(2) หลักคุณธรรม จะให้ความเป็นธรรม ความเสมอภาคกับทุกๆฝ่ายโดยไม่ให้เกิดความเลื่อมล้ำ ต่ำสูง ปราศจากอคติใด ๆ ทั้งสิ้น
(3) หลักความโปร่งใส จะใช้หลักโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้าง โดยยึดถือเอาราคากลางและมาตรฐานสินค้า ที่ทางราชการได้กำหนดเป็นเกณฑ์ในการเลือกสรร และทำสัญญากับคู่สัญญาหรือผู้ขาย ผู้รับจ้างโดยเสมอภาคกัน
(4) หลักการมีส่วนร่วม จะเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนรวมในการคิดการวางแผน การปฏิบัติงานและการตรวจสอบ ผลงานขององค์การบริหารส่วนตำบล
(5) หลักความรับผิดชอบ การบริหารงานจะเป็นไปด้วยความระมัดระวังเพื่อป้องกันความผิดพลาดเสียหาย และเสียโอกาส ทั้งของราชการ ของภาคเอกชนและของประชาชนบนหลักการผลประโยชน์ส่วนรวมมาก่อนเสมอ
(6) หลักความคุ้มค่า การจัดตั้งงบประมาณโครงการต่าง ๆ จะเป็นไปอย่างประหยัดไม่ฟุ่มเฟือยเหมาะสมกับเนื้องานที่จะเกิดขึ้น มีความคุ้มค่ากับเม็ดเงินที่ลงทุนไปทุกบาททุกสตางค์
 
วิสัยทัศน์
เป้าประสงค์เพื่อการพัฒนา

1. เพื่อให้ประชาชนมีน้ำใช้ในการเกษตร และอุปโภค บริโภค อย่างพอเพียง 2. เพื่อให้เกษตรกรได้พัฒนาความรู้ ลดการใช้สารเคมีในการทำการเกษตร และมีรายได้เพิ่มขึ้น 3. เพื่อให้ประชาชนมีการศึกษาที่ดีขึ้น ทั่วถึงทุกระดับ 4. เพื่อพัฒนา ฟื้นฟู แหล่งโบราณคดี ประเพณี วัฒนธรรมพื้นบ้าน และภูมิปัญญาท้องถิ่นให้คงอยู่สืบต่อไปชั่วลูกชั่วหลาน 5. เพื่อให้ประชาชน เด็ก คนชรา ผู้พิการ และผู้ยากไร้ ได้รับการส่งเสริมด้านสุขภาพ สวัสดิการสังคม และการสังคมสงเคราะห์อย่างทั่วถึง 6. เพื่อพัฒนาท้องถิ่นในด้านโครงสร้างพื้นฐานและด้านอื่น ๆ ให้เพียงพอกับความต้องการ
พันธกิจการพัฒนาท้องถิ่น (Mission)

1. จัดให้มีและบำรุงรักษาแหล่งน้ำ 2. ส่งเสริมและให้ความรู้ด้านการเกษตร และการพัฒนาอาชีพให้ชุมชน 3. ส่งเสริมการศึกษาในชุมชน ให้ทั่วถึงทุกระดับ 4. ส่งเสริม พัฒนา ฟื้นฟู แหล่งโบราณคดี ประเพณี วัฒนธรรมพื้นบ้าน และภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชน 5. ส่งเสริมสุขภาพ สวัสดิการสังคม และสังคมสงเคราะห์ ให้กับเด็ก คนชรา ผู้พิการ และผู้ยากไร้ ในหมู่บ้านให้ทั่วถึงทุกครัวเรือน 6. ปรับปรุงและพัฒนาเส้นทางคมนาคม ระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ ให้ได้มาตรฐาน เพียงพอความต้องการของประชาชน
วิสัยทัศน์การพัฒนา อบต.หลุมข้าว (Vision)

“สืบสานวัฒนธรรมพื้นบ้าน ระบบบริการสาธารณะขั้นพื้นฐานครอบคลุม ประชาชนมีคุณภาพชีวิตดี มีการศึกษา ทุกภาคีมีส่วนร่วม รักษาสิ่งแวดล้อม พร้อมชุมชนน่าอยู่”
วิสัยทัศน์หน่วยงาน

วิสัยทัศน์การพัฒนา

วิสัยทัศน์การพัฒนา อบต.หลุมข้าว (Vision)
“สืบสานวัฒนธรรมพื้นบ้าน ระบบบริการสาธารณะขั้นพื้นฐานครอบคลุม ประชาชนมีคุณภาพชีวิตดี มีการศึกษา ทุกภาคีมีส่วนร่วม รักษาสิ่งแวดล้อม พร้อมชุมชนน่าอยู่”  
 
พันธกิจการพัฒนาท้องถิ่น (Mission) 
1. จัดให้มีและบำรุงรักษาแหล่งน้ำ
2. ส่งเสริมและให้ความรู้ด้านการเกษตร และการพัฒนาอาชีพให้ชุมชน
3. ส่งเสริมการศึกษาในชุมชน ให้ทั่วถึงทุกระดับ 
4. ส่งเสริม พัฒนา ฟื้นฟู แหล่งโบราณคดี ประเพณี วัฒนธรรมพื้นบ้าน และภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชน
5. ส่งเสริมสุขภาพ สวัสดิการสังคม และสังคมสงเคราะห์ ให้กับเด็ก คนชรา ผู้พิการ และผู้ยากไร้ ในหมู่บ้านให้ทั่วถึงทุกครัวเรือน
6. ปรับปรุงและพัฒนาเส้นทางคมนาคม ระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ ให้ได้มาตรฐาน เพียงพอความต้องการของประชาชน
 
เป้าประสงค์เพื่อการพัฒนา
1. เพื่อให้ประชาชนมีน้ำใช้ในการเกษตร และอุปโภค บริโภค อย่างพอเพียง
2. เพื่อให้เกษตรกรได้พัฒนาความรู้ ลดการใช้สารเคมีในการทำการเกษตร และมีรายได้เพิ่มขึ้น
3. เพื่อให้ประชาชนมีการศึกษาที่ดีขึ้น ทั่วถึงทุกระดับ
4. เพื่อพัฒนา ฟื้นฟู แหล่งโบราณคดี ประเพณี วัฒนธรรมพื้นบ้าน และภูมิปัญญาท้องถิ่นให้คงอยู่สืบต่อไปชั่วลูกชั่วหลาน
5. เพื่อให้ประชาชน เด็ก คนชรา ผู้พิการ และผู้ยากไร้ ได้รับการส่งเสริมด้านสุขภาพ สวัสดิการสังคม และการสังคมสงเคราะห์อย่างทั่วถึง
6. เพื่อพัฒนาท้องถิ่นในด้านโครงสร้างพื้นฐานและด้านอื่น ๆ ให้เพียงพอกับความต้องการ
 
นโยบายการพัฒนาของผู้บริหารท้องถิ่น
 
1. นโยบายด้านการเมืองและการบริหาร
การพัฒนาการเมืองและการบริหาร เพื่อให้บรรลุตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ที่ได้ให้ความสำคัญกับการกระจายอำนาจการปกครองสู่ท้องถิ่น ให้ความเป็นอิสระแก่ท้องถิ่น ในการกำหนดนโยบาย การบริหาร การเงิน การคลัง การบริหารงานบุคคล ดังนั้น จึงมีความจำเป็นที่จะต้องเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติตามภารกิจที่เพิ่มขึ้นขององค์การบริหารส่วนตำบล ตลอดจนการเสริมสร้างจิตสำนึกของพนักงาน เจ้าหน้าที่ และลูกจ้างในการบริการประชาชน   ให้ได้รับความสะดวก รวดเร็ว และเกิดความพึงพอใจ ดังนี้
1. พัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลหลุมข้าวให้เป็นองค์กรธรรมาภิบาลที่มีหลักการบริหารจัดการตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดีและเป็นหน่วยบริการสังคมที่ดีมีมาตรฐานด้วยการส่งเสริมสร้างความร่วมมือประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง สร้างกระบวนการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาศักยภาพและยกระดับแก่สมาชิกสภาท้องถิ่น ข้าราชการ พนักงานและลูกจ้าง ซึ่งเป็นทรัพยากรบุคคลอันสำคัญของตำบลหลุมข้าว พร้อมทั้งสร้างเสริมกระบวนการพัฒนาระบบการบริการสาธารณะที่ดี มีมาตรฐาน สร้างความสะดวก ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน สร้างบุคลากรให้มีคุณภาพ และมีจิตสำนึกในการให้บริการ เพื่อรองรับการบริการแต่ละด้านให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน
2.  ส่งเสริมสนับสนุนการขับเคลื่อนองค์กรชุมชน และคณะกรรมการชุมชนดำเนินกิจกรรม โครงการต่าง ๆ โดยชุมชนและเพื่อชุมชน รวมทั้งสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนเพื่อพัฒนายกระดับการขับเคลื่อนไปสู่ทิศทางของเมืองน่าอยู่ ชุมชนน่าอยู่อย่างยั่งยืน
3. ส่งเสริมสนับสนุนการประสานงานเพื่อก่อให้เกิดการสร้างเครือข่ายการทำงาน ทั้งภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ และพื้นที่อื่น ๆ ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง รวมถึงภาคเอกชน องค์กรพัฒนาเอกชน
4. เพิ่มประสิทธิภาพในการจัดเก็บและพัฒนารายได้ ให้ความทั่วถึงเป็นธรรม รับฟังความคิดเห็นจากประชาชนตามครรลองระบอกประชาธิปไตย ตั้งแต่เริ่มกระบวนการ ร่วมคิดร่วมตรวจสอบ โปร่งใสและปฏิบัติงานอย่างมีระบบ
 
2. นโยบายด้านการพัฒนาสังคม
        พัฒนาศักยภาพของประชาชนในตำบล ทั้งในด้านการศึกษา สาธารณสุข และการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน เพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ดังนี้
1. รณรงค์ส่งเสริมกระบวนการสร้างเสริมคุณธรรม จริยธรรมการสร้างวินัย และจิตสาธารณะของคนในชุมชน
2. ส่งเสริม สนับสนุน อำนวยความสะดวกแก่การดำเนินงานด้านสวัสดิการสงเคราะห์เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี สามารถพึ่งตนเองได้ รวมทั้งได้รับการช่วยเหลือและได้รับการบริการอย่างทั่วถึง และเป็นธรรม
3. ส่งเสริมและสนับสนุนด้านการกีฬา และลานกีฬาหมู่บ้าน เพื่อสุขภาพอนามัยที่ดีของประชาชน ให้เด็กและเยาวชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ สนับสนุนให้มีการแข่งขันกีฬา เพื่อก่อให้เกิดความรัก ความสามัคคีและปลูกฝังค่านิยมที่ดีต่อการกีฬา
4. ป้องกัน ปราบปราม และแก้ไขปัญหายาเสพติดให้หมดไปจากพื้นที่ ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานของรัฐ เอกชนที่เกี่ยวข้อง ร่วมกันป้องกัน และแก้ปัญหาอย่างใกล้ชิด เสริมสร้างความเข้มแข็ง ความเข้าใจที่ถูกต้องให้แก่สถาบันครอบครัว
5. ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาสังคม ที่สอดคล้องกับทิศทางของการสร้างสุขภาวะแบบองค์รวม และการสร้างสังคมที่อยู่ดีมีสุข มีความเป็นชุมชนน่าอยู่ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นทุกเวลา
 
3. นโยบายการพัฒนาการศึกษา ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม
การส่งเสริมและสนับสนุนด้านการปฏิรูปการศึกษาเจตนารมณ์แห่งรัฐธรรมนูญ และพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งความรู้ อันเป็นเงื่อนไขไปสู่ระบบเศรษฐกิจฐานความรู้ ให้ประชาชนทั้งปวงได้รับโอกาสเท่าเทียมกันที่จะเรียนรู้และฝึกอบรมได้ตลอดชีวิต และมีปัญญาเป็นทุนไว้สร้างงานและสร้างรายได้ และนำพาท้องถิ่นให้รอดพ้นจากวิกฤตเศรษฐกิจและสังคม โดยยึดหลักการศึกษาสร้างชาติ สร้างคน และสร้างงาน ตลอดจนการส่งเสริม สนับสนุน ด้านการศึกษา ศิลปวัฒนธรรมให้เกิดความรู้คู่คุณธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะ และวัฒนธรรมของท้องถิ่น ดังนี้
1. สนับสนุนและส่งเสริมพัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนวัยเรียนให้ได้ตามมาตรฐาน เน้นคุณภาพ ประสิทธิภาพและความเที่ยงธรรมในการบริหารจัดการศึกษาทุกประเภท 
2. ส่งเสริมและสนับสนุนด้านการศึกษาที่ทันสมัย ทันโลกทันเหตุการณ์
3. สนับสนุน ส่งเสริม รักษาขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่น พัฒนาแหล่งวัฒนธรรม ศิลปวัตถุ และโบราณสถาน ให้เป็นแหล่งเรียนรู้และแหล่งรายได้ของประชาชนในพื้นที่
 
4. นโยบายพัฒนาสาธารณสุขและส่งเสริมคุณภาพชีวิต
การสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านสุขภาพ ตามแนวทางของกฎหมายสุขภาพแห่งชาติ ช่วยรณรงค์ให้เกิดการพัฒนา และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางด้านสุขภาพอนามัย เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและลดปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อสุขภาพ ดังนี้
1. เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยสมบูรณ์ แข็งแรง และมีสุขภาพจิตที่ดี การดูแลรักษาสุขภาพอนามัยของประชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาชน
2. ส่งเสริมการดำเนินกิจกรรมด้านการเสริมสร้างสุขภาพของประชาชน และการบริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน ผู้รับบริการสามารถเข้าถึงได้อย่างสะดวก รวดเร็ว เป็นธรรม
3. สนับสนุนการควบคุมป้องกันการระบาดของโรคติดต่อ และโรคไม่ติดต่อที่อันตรายต่อคน และสัตว์ โดยการสร้างขีดความสามารถในการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมและดูแลรักษาอย่างเป็นระบบ เชื่อมโยงกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
4. ส่งเสริม สนับสนุนงานสุขภาพอนามัย และการจัดการสุขภาวะภาคประชาชน โดยผ่านกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)
5. ส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมที่สอดคล้องกับการคุ้มครองผู้บริโภค
 
5. นโยบายพัฒนาทางเศรษฐกิจ
ในสภาวการณ์ปัจจุบัน ซึ่งเกิดความถดถอยทางเศรษฐกิจ การส่งเสริมการพัฒนา ทางเศรษฐกิจภายในท้องถิ่นเป็นการสนับสนุน และเพิ่มศักยภาพของกลุ่มให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน ดังนี้
1. สนับสนุน ส่งเสริมกลุ่มอาชีพให้เติบโตและเข้มแข็ง เพื่อพัฒนาศักยภาพของกลุ่มให้มีความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน พัฒนาอาชีพที่เหมาะสมกับสภาวะแวดล้อมของท้องถิ่น และกระตุ้นให้เกิดการพัฒนา กระบวนการสร้างระบบเศรษฐกิจชุมชน ขยายเครือข่าย โดยจัดหาแหล่งรองรับสินค้า หรือตลาดส่งออกสินค้าของกลุ่มอาชีพ
2. สนับสนุน ส่งเสริมด้านการเกษตร กระบวนการเรียนรู้ภาคการเกษตร อุตสาหกรรม การเกษตร ควบคู่กับการรักษาสิ่งแวดล้อมโดยการใช้เกษตรอินทรีย์
3. สร้างรายได้และลดรายจ่ายในครัวเรือน ส่งเสริม สนับสนุน ขยายเครือข่าย เพิ่มศักยภาพผู้ประกอบการในพื้นที่
4. ส่งเสริมกิจกรรมที่สอดคล้องตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
 
6. นโยบายด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
พัฒนาโครงสร้าง และสภาพแวดล้อมของตำบล เพื่อส่งเสริมศักยภาพเศรษฐกิจและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน และเป็นการวางรากฐานการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยมุ่งเน้นการเป็นศูนย์กลางในการให้บริการ ดังนี้
1. พัฒนาระบบการก่อสร้าง ปรับปรุง บำรุงรักษาสาธารณูปโภคต่าง ๆการขยายเขตไฟฟ้าและติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะ ให้ทั่วถึงทุกพื้นที่ ประชาชนมีไฟฟ้าในครัวเรือนใช้ตามความเหมาะสม
2. เสริมสร้างมาตรการในการป้องกัน และแก้ไขปัญหาน้ำท่วมขังในชุมชนให้มี และบำรุงทางระบายน้ำ โดยการก่อสร้างและปรับปรุงท่อระบายน้ำ รางระบายน้ำ รวมถึงระบบระบายน้ำเพื่อแก้ไขปัญหาน้ำท่วมขังอย่างเป็นระบบ
3. ส่งเสริมการพัฒนาแหล่งน้ำสำหรับประชาชนได้อุปโภค บริโภค โดยการพัฒนาแหล่งน้ำที่มีอยู่เดิมให้สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างคุ้มค่า และจัดหาแหล่งน้ำใหม่ตามความเหมาะสม
 
7. นโยบายด้านการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้เป็นปัจจัยเกื้อหนุนในการดำรงชีวิตเพื่อเอื้ออำนวยต่อความสมดุลของระบบนิเวศวิทยา เพื่อยกระดับคุณภาพ และสนับสนุนการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และเพื่อเป็นการพัฒนาอย่างยั่งยืน ดังนี้
1. รณรงค์ ส่งเสริมการสร้างจิตสำนึกสาธารณะ ทางด้านการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมแก่ประชาชน และชุมชน
2. สนับสนุน ส่งเสริมให้ชุมชนมุ่งรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของชุมชน และสถานที่ต่าง ๆ ในตำบลให้เป็นเมืองน่าอยู่
3. ส่งเสริมสนับสนุนการเฝ้าระวัง และการมีส่วนร่วมของชุมชนในการควบคุม และกำจัดมลภาวะที่มีผลต่อสุขภาพอนามัย และคุณภาพชีวิตของประชาชน
4. ส่งเสริมสนับสนุนกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ขับเคลื่อนการจัดทำโครงการ และการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ที่มุ่งไปสู่การลดสภาวะโลกร้อน
แนวทางการจัดทำนโยบาย
  นโยบายนี้จัดทำขึ้นโดยอาศัยข้อมูลพื้นฐานของตำบลหลุมข้าว นโยบายรัฐบาล แผนยุทธศาสตร์จังหวัดลพบุรี แผนยุทธศาสตร์องค์การบริหารส่วนตำบลหลุมข้าว แผนชุมชน วิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนตำบลหลุมข้าว ความต้องการของประชาชนตำบลหลุมข้าว
แนวทางการบริหารจัดการเพื่อให้การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ นำแนวทางบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดีมาเป็นแนวทาง ดังนี้
(1) หลักนิติธรรม จะบริหารจัดการโดยยึดหลักตามกฎหมายบ้านเมือง ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ ที่ทางราชการ ได้ประกาศใช้เพื่อไม่ให้เกิดความผิดพลาดเสียหายกับทางราชการ
(2) หลักคุณธรรม จะให้ความเป็นธรรม ความเสมอภาคกับทุกๆฝ่ายโดยไม่ให้เกิดความเลื่อมล้ำ ต่ำสูง ปราศจากอคติใด ๆ ทั้งสิ้น
(3) หลักความโปร่งใส จะใช้หลักโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้าง โดยยึดถือเอาราคากลางและมาตรฐานสินค้า ที่ทางราชการได้กำหนดเป็นเกณฑ์ในการเลือกสรร และทำสัญญากับคู่สัญญาหรือผู้ขาย ผู้รับจ้างโดยเสมอภาคกัน
(4) หลักการมีส่วนร่วม จะเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนรวมในการคิดการวางแผน การปฏิบัติงานและการตรวจสอบ ผลงานขององค์การบริหารส่วนตำบล
(5) หลักความรับผิดชอบ การบริหารงานจะเป็นไปด้วยความระมัดระวังเพื่อป้องกันความผิดพลาดเสียหาย และเสียโอกาส ทั้งของราชการ ของภาคเอกชนและของประชาชนบนหลักการผลประโยชน์ส่วนรวมมาก่อนเสมอ
(6) หลักความคุ้มค่า การจัดตั้งงบประมาณโครงการต่าง ๆ จะเป็นไปอย่างประหยัดไม่ฟุ่มเฟือยเหมาะสมกับเนื้องานที่จะเกิดขึ้น มีความคุ้มค่ากับเม็ดเงินที่ลงทุนไปทุกบาททุกสตางค์
 
place ข้อมูลหน่วยงาน
แผนที่หน่วยงาน
ตราสัญลักษณ์หน่วยงานรอปรับปรุง
ข้อมูลหน่วยงาน องค์การบริหารส่วนตำบลหลุมข้าว ตำบลหลุมข้าว อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี 15120 เบอร์โทรศัพท์: 036-708444,036-708456 เบอร์โทรสาร: 036708444 Email: admin@loomkao.go.th เว็บไซต์หน่วยงาน: https://www.loomkao.go.th
แผนที่ตำบลหลุมข้าวรอปรับปรุง
เว็ปต์ไซค์ www.loomkao.go.thรอปรับปรุง
ข้อมูลหน่วยงาน
แผนที่หน่วยงาน

ตราสัญลักษณ์หน่วยงาน

รอปรับปรุง
ข้อมูลหน่วยงาน

องค์การบริหารส่วนตำบลหลุมข้าว ตำบลหลุมข้าว อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี 15120 เบอร์โทรศัพท์: 036-708444,036-708456 เบอร์โทรสาร: 036708444 Email: admin@loomkao.go.th เว็บไซต์หน่วยงาน: https://www.loomkao.go.th
แผนที่ตำบลหลุมข้าว

รอปรับปรุง
เว็ปต์ไซค์ www.loomkao.go.th

รอปรับปรุง